กฤษฎีกา ติง ผสมกัญชาในยามีผลข้างเคียง
ครม.เห็นชอบร่างกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองกัญชา กฤษฎีกาติง ผสมกัญชาในยาอาจส่งผลข้างเคียง แนะ อย. ประชาสัมพันธ์ให้เข้าใจผลกระทบ เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2564 ที่ทำเนียบรัฐบาล น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงว่า คณะรัฐมนตรี…
กัญชง-กัญชาพืช ศก.ใหม่หอมยวนใจ ‘ยสท.’ทิ้งธุรกิจมวนใบยาสูบ กู้วิกฤตรายได้ฟื้น-กำไรพุ่ง?
จากกระแสที่ร้อนแรงของพืชเศรษฐกิจใหม่ อย่างกัญชง-กัญชา ที่ผู้คนให้ความสนใจจำนวนมาก รัฐบาลไทยได้ผลักดันให้กัญชงและกัญชากลายเป็นพืชถูกกฎหมาย จนเมื่อปีที่ผ่านมาอนุญาตให้ใช้ในทางการแพทย์ และล่าสุด เมื่อช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 กระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศ อนุญาตให้นำส่วนประกอบของพืชกัญชงและกัญชาที่ไม่มีสารเสพติด ได้แก่ เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง โปรตีนจากเมล็ดกัญชง ผสมในผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มได้ รวมทั้งทำผลิตภัณฑ์อาหารเสริมได้ การยาสูบแห่งประเทศไทย (ยสท.) เป็นอีกหน่วยงานรัฐที่ให้ความสนใจ วิจัยและพัฒนาการเพาะปลูกและพัฒนาพืชกัญชงและกัญชาเพื่อต่อยอดในเชิงพาณิชย์…
กัญชง VS กัญชา ความเหมือนที่แตกต่าง!!
ปัจจุบันกระแส กัญชงกับกัญชา ในไทยกำลังมาแรงจากกระแสการผลักดันกัญชาให้ถูกกฎหมายในการครอบครอง การปลูก การใช้ทางการแพทย์ และกระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวง เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (ฉบับที่ 2) เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 ให้บางส่วนของต้นกัญชาและกัญชงไม่จัดเป็นยาเสพติด
เปิดหูเปิดตามองพืชต้องห้าม (กัญชา-กัญชง)
ต้องยอมรับกว่า ‘พืชกัญชา’ กำลังจะกลับมาในอีกไม่ช้าไม่นานนี้ ที่ใช้คำว่า ‘กลับมา’ ก็เพราะ เมื่อเกือบ100 ปีที่ผ่านมาพืชสีเขียวถูกขีดเส้นให้ผิดกฎหมายไทยในปี พ.ศ. 2477 เพียงเพราะถูกระบุให้เป็นพืชให้โทษร้ายแรงแก่ผู้สูบ สุดท้ายกัญชาและกัญชงจึงกลายเป็นพืชผิดกฎหมายนับแต่นั้นมา หากลองเปิดหู-เปิดตามองพืชต้องห้าม กัญชา-กัญชงอยู่คู่กับคนไทยมาโดยตลอด ในรูปยาเสพติดให้โทษ และพืชสีเขียวสายพันธุ์ที่ดีสุดในโลกยาวนานกว่าร้อยปี หากพูดกันอย่างไม่หลับหูหลับตาก็ต้องยอมรับว่ากัญชาไม่เคยหายไปจากสังคมไทย ทั้งในฐานะของสิ่งผิดกฎหมายที่มักปรากฏอยู่เสมอ และในฐานะที่โจษจันว่า “กัญชาจากไทยคือหนึ่งในสายพันธุ์กัญชาที่ดีสุดในโลก”